วันพฤหัสบดีที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2559

ไปทำบุญกันเถอะ

การทำบุญ เป็นสิ่งที่อยู่คู่กับชาวพุทธของเรามาช้านานตั้งแต่สมัยพุทธกาล เป็นการสร้างคุณความดีต่อโลก ต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน เป็นการให้ที่กั้นบันไดมือสองที่ยิ่งใหญ่ เพื่อเสริมความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต การทำบุญก็มีหลากหลายวิธี แต่สำหรับเราชาวพุทธก็มีหลักในการทำบุญอยู่ 10 ประการ 1.การให้ทาน เป็นการทำบุญด้วยการให้ ไม่ว่าจะเป็นสิ่งของ ให้ธรรมะ ให้อภัย ให้โอกาส เป็นการมอบสิ่งดีดีให้แก่กันและกัน ให้กับบุคคลธรรมดา พระสงฆ์ และบุคคลอื่นๆ ทุกครั้งที่เราให้ออกไป ก็จะเกิดความสบายใจ ปีติสุขทุกครั้ง อย่างที่เขาบอกว่า “ยิ่งให้ ยิ่งได้” ถ้าเราอยากได้อะไรจากใคร เราก็ต้องให้ที่กั้นประตูกันแมลงกับผู้อื่นก่อน 2.การสมาทานศีล คือการรักษาศีล ตามหลักชาวพุทธ ไม่ว่าจะเป็นการรักษาศีล 5 ศีล 8 สำหรับบุคคลธรรมดาที่ต้องประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวัน เพื่อความร่มเย็นเป็นสุขในชีวิต หรือการรักษาศีล 227 ข้อสำหรับพระสงฆ์ คือความตั้งใจที่จะละเว้นจากการกระทำที่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เพราะมองเห็นถึงโทษของการกระทำนั้นและเป็นความเต็มใจที่จะละเว้นที่ทำให้เป็นโทษกับชีวิต 3.การภาวนา คือการเฝ้าระวังความคิดและจิตใจของเรา เป็นการคอยรักษาจิตใจ ที่เผลอไผลตกลงไปคิดในสิ่งที่ไม่ดี เพราะถ้าเมื่อไหร่ที่เราคิดไม่ดี ก็จะส่งผลให้การพูดและทำในสิ่งที่ไม่ดีตามไปด้วย และจะทำให้คนรอบข้างพลอยรู้สึกไม่ดีไปด้วย การภาวนาก็เป็นการรักษาจิตใจ ไว้ในที่ที่ถูกต้อง มีแต่ความสุขกายสบายใจ 4.ความอ่อนน้อมถ่อมตน เป็นการแสดงความอ่อนโยน เป็นการลดอัตตาในตัวเอง จะทำให้เราอยู่ง่ายขึ้น เพราะไม่ได้ยึดติดกับตัวเอง เป็นที่รักใคร่ของคนรอบข้าง 5.เต็มใจช่วยเหลือผู้อื่น เป็นการแสดงน้ำใจ เป็นการให้อีกหนึ่งรูปแบบ ให้น้ำใจกับผู้คนโดยไม่ได้คาดหวังว่าจะได้สิ่งตอบแทน 6.การแสดงธรรม เป็นการนำสิ่งดีดี หลักคำสอนของพระพุทธองค์ มาแบ่งปันแก่เพื่อนมนุษย์ ซึ่งเป็นหลักคำสอนท่สอนให้คนหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งหลายที่เกิดขึ้นในชีวิต 7.การฟังธรรม เป็นการพาตัวเองเข้าไปรับรู้สิ่งที่ดีและเป็นประโยชน์ในชีวิต ทำให้เข้าใจในหลายๆสิ่งหลายๆอย่างเพิ่มมากขึ้น เพิ่มความสุข ลดความทุกข์ให้ตัวเอง 8.การมอบความดีให้แก่กันและกัน เป็นการเผื่อแผ่ความดีไปให้ผู้อื่นด้วยการตั้งความปรารถนาดีแก่เพื่อนมนุษย์ ไม่ว่าบุคคลนั้นจะรักหรือเกลียดชังก็ตาม เป็นการวางใจเป็นกลางนั่นเอง 9.การพลอยยินดีกับผู้อื่น เมื่อเห็นว่าบุคคลนั้นได้รั้วกั้นบันได มือสองมีความสุข เป็นการร่วมยินดีในความสุขนั้น สลายความอิจฉาริษยาออกไปจากใจ 10.ทำความเห็นให้ตรง เป็นการใช้สติในการพินิจ พิจารณาสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้น ในชีวิต ทั้งเรื่องที่ดีและไม่ดี จำทำให้เรามองเห็นสิ่งทีควรปรับปรุงแก้ไข เป็นการทบทวนตัวเองอยู่เสมอในทุกความคิด คำพูดและการกระทำ วิธีการทำบุญง่ายๆ 10 ประการที่จะเป็นประโยชน์แก่ชีวิต ให้ดำเนินไปในทางที่ถูกต้องเหมาะสม มีแต่ความสุขกายสบายใจ ที่กั้นบันได

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น